เงินไม่พอไถ่ถอน
25
Jul 24

เงินไม่พอไถ่! ขยายสัญญา ขายฝาก ได้หรือไม่?

ในภาวะเศรษฐกิจที่ไม่แน่นอน หลายคนอาจเผชิญปัญหาด้านการเงิน  รายได้ไม่เพียงพอต่อค่าใช้จ่าย  ส่งผลต่อการผ่อนชำระหนี้สิน

โดยเฉพาะหนี้จำนองหรือขายฝากที่ผูกพันกับที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์   วันเราจะมาไขของสงสัยกันว่า

“กรณีเงินไม่พอไถ่  เราสามารถขยายสัญญาจำนอง  ขายฝาก หรือหาทางออกอื่นได้หรือไม่
การขยายสัญญา ทำได้หรือไม่

ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 504   ผู้ขายฝากและผู้ซื้อฝากสามารถตกลงกันเพื่อขยายระยะเวลาไถ่ถอนได้

แต่ต้องไม่เกิน 10 ปี   นับตั้งแต่วันทำสัญญาขายฝากครั้งแรก
รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการขยายสัญญาขายฝาก:

  1. เงื่อนไข:

– ผู้ขายฝากและผู้ซื้อฝาก ตกลงกันเป็นลายลักษณ์อักษร

– ระยะเวลาไถ่ถอนรวม ไม่เกิน 10 ปี นับตั้งแต่วันทำสัญญาขายฝากครั้งแรก

– ไม่มีการจำกัดจำนวนครั้ง ในการขยายระยะเวลาไถ่ถอน แต่ละครั้งต้องไม่เกิน 10 ปี

  1. ขั้นตอน:

– ผู้ขายฝากติดต่อผู้ซื้อฝาก เพื่อแจ้งความประสงค์ขอขยายสัญญา

– ตกลงกำหนดระยะเวลาไถ่ถอนใหม่ เป็นลายลักษณ์อักษร

– ทำสัญญาขยายระยะเวลาไถ่ถอน เป็นหนังสือ ลงลายมือชื่อทั้งสองฝ่าย และพยานอย่างน้อย 2 คน

– จดทะเบียน สัญญาขยายระยะเวลาไถ่ถอนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ที่สำนักงานที่ดิน ภายใน 30 วัน นับแต่วันทำสัญญา

  1. เอกสารประกอบ:

– สำเนาบัตรประชาชน ของผู้ขายฝากและผู้ซื้อฝาก

– สำเนาสัญญาขายฝาก ฉบับแรก

– สัญญาขยายระยะเวลาไถ่ถอน ฉบับจริง

– ใบเสร็จรับเงิน ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน

  1. ค่าธรรมเนียม:

-ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน ขึ้นอยู่กับราคาประเมินที่ดิน

  1. ผลของการขยายสัญญา:

-ระยะเวลาไถ่ถอน ขยายตามที่ระบุในสัญญาขยายระยะเวลาไถ่ถอน

– สิทธิและหน้าที่ ของผู้ขายฝากและผู้ซื้อฝาก ยังคงเดิม ตามที่ระบุในสัญญาขายฝาก

  1. กรณีพิเศษ:
  • ผู้ขายฝากเสียชีวิต ทายาทสามารถขยายสัญญาแทนได้ โดยต้องแสดงหลักฐานการเป็นทายาท

กรณีเงินไม่พอไถ่ กายขยายสัญญาขายฝากสามารถทำได้ไม่เกิน 10 ปี  และยังไม่จำกัดจำนวนครั้ง

การขายฝาก เป็นอีกหนึ่งวิธีหนึ่งที่ช่วยคุณสามารถหาช่องทางวิธีแก้ปัญหาทางการเงินที่เร่งด่วน และ ปลอดภัย  แต่ควรเลือกบริษัทที่ไว้ใจได้ และให้ปรึกษาที่ดีที่สุด

นึกถึงจำนองขายฝาก นึกถึง Property4cash เราไม่มีนโยบายยึดทรัพย์  ปรึกษาที่เราได้ง่ายๆ ด้วยประสบการณ์การด้านการจำนอง ขายฝาก

มากกว่า 10 ปี  ผ่านเคสต่างๆมาแล้วไม่ต่ำกว่า 100 เคส อนุมัติ รวดเร็ว ทันใจ ภายใน 24 ชม.

Line: @Property4Cash

โทร : 0968135989

หรือส่งรายละเอียดทรัพย์มาได้ที่ https://property4cash.co/post-property/

นึกถึงขายฝาก.. นึกถึง Property 4 Cash

ดอกเบี้ยต่ำ อนุมัติเร็ว ถูกกฎหมาย 100%

อ่านบทความอื่นๆเพิ่มเติมได้ที่ : https://property4cash.co/articles/

หรือ https://facebook.com/propertyforcashofficial

ลงทะเบียนเป็นนักลงทุน

กรุณากรอก ชื่อ
กรุณากรอก นามสกุล
กรุณากรอก เบอร์โทรศัพท์
กรุณากรอก LINE ID
กรุณากรอก อีเมล
บาท
please verify you are human

บทความเเละข่าวสารแนะนำ

5 ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจจำนองบ้าน
7
Sep 24
5 ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจจำนองบ้าน

การตัดสินใจจำนองบ้านเป็นเรื่องใหญ่ที่ต้องวางแผนอย่างรอบคอบ เพราะเกี่ยวข้องกับภาระทางการเงินระยะยาว ดังนั้นก่อนตัดสินใจ ควรทำความเข้าใจใน 5 ข้อสำคัญต่อไปนี้ ความสามารถในการผ่อนชำระ รายได้: ประเมินรายได้ประจำและรายได้อื่นๆ ที่มั่นคง ค่าใช้จ่าย: รวมค่าใช้จ่ายทั้งหมด เช่น ค่าอาหาร ค่าเดินทาง ค่าสาธารณูปโภค ค่าเล่าเรียนบุตร หนี้สินอื่น: หนี้บัตรเครดิต หนี้สินส่วนบุคคลอื่นๆ อัตราส่วนหนี้สินต่อรายได้ (Debt Service Ratio หรือ DSR): ควรคำนวณ DSR เพื่อประเมินว่าภาระหนี้ใหม่จะส่งผลกระทบต่อการเงินส่วนตัวมากน้อยแค่ไหน อัตราดอกเบี้ยและระยะเวลาผ่อนชำระ อัตราดอกเบี้ย: เปรียบเทียบอัตราดอกเบี้ยของแต่ละธนาคารหรือสถาบันการเงิน ระยะเวลาผ่อนชำระ: เลือกระยะเวลาผ่อนชำระที่เหมาะสมกับกำลังทรัพย์ อัตราดอกเบี้ยลอยตัวหรืออัตราดอกเบี้ยคงที่: เลือกประเภทอัตราดอกเบี้ยให้เหมาะสมกับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ค่าใช้จ่ายอื่นๆ นอกเหนือจากเงินต้นและดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียม: ค่าประเมินราคาทรัพย์สิน ค่าจดทะเบียนจำนอง ค่าประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการโอนกรรมสิทธิ์: ค่าอากรแสตมป์ ค่าธรรมเนียมการโอน ค่าใช้จ่ายในการตกแต่ง: หากบ้านต้องการการ […]

อ่านเพิ่มเติม
ทรัพย์หลุดขาย ฝากผู้รับซื้อฝากจะทำยังไง?
31
Aug 24
ทรัพย์หลุดขายฝากผู้รับซื้อฝากจะทำยังไง?

ทรัพย์หลุดขายฝาก ผู้รับซื้อฝากจะทำยังไง? การทำธุรกรรมขายฝาก เป็นสัญญาประเภทหนึ่งที่เจ้าของทรัพย์สิน (ผู้ขายฝาก) นำทรัพย์สิน เช่น ที่ดิน บ้าน คอนโด อสังหาริมทรัพย์ต่างๆ มาให้กับอีกบุคคลหนึ่งซึ่งเรียกว่า (ผู้รับซื้อฝาก) ถือกรรมสิทธิ์ชั่วคราว เพื่อขอเงินกู้หรือพูดกันให้เข้าใจง่ายๆว่า เอาโฉนดมาวางค้ำเป็นหลักประกัน เพื่อกู้เงินนำเงินไปใช้ก่อนเมื่อครบกำหนดสัญญาตามที่ตกลงกันก็นำเงินต้นมาไถ่ถอนคืน แต่ในระหว่างสัญญาก็จะมีค่าดอกเบี้ยที่ผู้ขายฝากจะต้องจ่ายให้แก้ผู้รับซื้อฝาก ในปัจจุบันนี้คนต้องการใช้เงินก้อน เงินด่วนเป็นจำนวนมากเจ้าของทรัพย์ก็นำโฉนดมาทำขายฝากกับทางนายทุนเป็นตัวเลขที่ตกลงกันทั้ง 2 ฝ่าย แต่เมื่อครบกำหนดสัญญาผู้ขายฝากไม่มาไถ่ถอนทรัพย์คืน จึงทำให้ทรัพย์หลุดไปเป็นของผู้รับซื้อฝากโดยทางกฎหมาย กรณีที่ ทรัพย์หลุดขายฝาก ผู้รับซื้อฝากจะต้องทำยังไงบ้าง และจะเสียค่าใช้จ่ายอะไรไหม? – กรณีที่ผู้รับซื้อฝากไม่ได้ส่งหนังสือแจ้งให้ทรัพย์ได้ทราบ ตามกฎหมายใหม่ต้องรอ 6เดือน ทรัพย์จะตกเป็นของผู้รับซื้อฝากโดยสมบูรณ์ – ถ้าผู้รับซื้อฝากส่งหนังสือแจ้งทรัพย์แล้ว (ส่งหนังสือแจ้งทรัพย์ไม่น้อยกว่า […]

อ่านเพิ่มเติม
กรรมสิทธิ์ร่วมในที่ดิน มีแบบไหนบ้างนะ?
21
Nov 23
กรรมสิทธิ์ร่วมในที่ดิน มีแบบไหนบ้างนะ?

เรามาทำความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ของ กรรมสิทธิ์ร่วมในที่ดิน กันว่าคืออะไร? เพื่อที่ว่าเราจะเข้าใจบทบาทรวมถึงบริบทกันได้มากขึ้น สำหรับคนที่กำลังมีปัญหาว่าจะแบ่งสิทธิ์การถือครองร่วมในที่ดินอย่างไร? ซึ่งก็จะมีหลายรูปแบบด้วยกันค่ะ กรรมสิทธิ์ร่วมในที่ดิน หมายถีง นิติกรรมการซื้อการขายหรือเป็นการให้ในที่ดินซึ่งมีลักษณะดังต่อไปนี้ นั่นก็คือ เป็นการขายหรือให้ในบางส่วนโดยให้สังเกตดูตรงรายชื่อในหนังสือแสดงสิทธิ์ที่ดิน ว่าจะมีชื่อเจ้าของที่ดินร่วมมากกว่า 1 คนขึ้นไป เช่น ที่ดิน 100 ไร่ มีผู้ถือกรรมสิทธิ์ร่วมกันหลายคน . การถือกรรมสิทธิ์ร่วมในที่ดิน แบบต่างๆ มีแบบไหนบ้าง ? การแบ่งที่ดินในแบบรวมๆ ผู้ร่วมจะไม่สามารถนำที่ดินผืนดังกล่าวไปขายได้จนกว่าได้รับอนุญาติจากผู้ร่วมคนอื่นๆ ลักษณะการแบ่ง โดยการแบ่งชัดเจนด้วยสัดส่วนคิดเป็น % เช่น มีบุตร 3 คน นั่นก็คือ นางสาวเอ นายบี นายซี แต่ในขณะนั้น บิดายังมีชีวิตอยู่และยังไม่ได้ทำเรื่องโอนที่ดินเป็นเรื่องเป็นราว ดังนั้น ความต้องการที่จะให้มีการถือกรรมสิทธิ์ร่วมในที่ดินถึงเกิดขึ้น โดยมีรูปแบบง่ายๆ นั่นก็คือ สมาชิกที่ต้องการจะมีกรรมสิทธิ์มาตกลงและ คุยกันก่อนว่ารู […]

อ่านเพิ่มเติม