โฉนดติดขายฝาก
28
Aug 24

โฉนดติดขายฝาก การทำธุรกรรมขายฝากโดยทั่วไปแล้ว สัญญาขายฝากจะมีระยะเวลาในการ ไถ่ถอน ที่กำหนดไว้ชัดเจน หากเจ้าของทรัพย์ไม่สามารถหาเงินมาชำระหนี้ตามจำนวนที่ตกลงกันไว้ได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด สัญญาขายฝากจะกลายเป็นเสมือนสัญญาซื้อขายโดยอัตโนมัติ ซึ่งหมายความว่า เจ้าหนี้ (ผู้รับซื้อฝาก) จะถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินแปลงนั้นไปโดยชอบด้วยกฎหมาย และเจ้าของทรัพย์จะสูญเสียสิทธิในการเป็นเจ้าของที่ดินแปลงนั้นไป

แต่การนำอสังหาริมทรัพย์มาทำธุรกรรมขายฝากนั้นก็ไม่ได้เสี่ยงที่ทรัพย์จะตกไปเป็นสิทธิ์ของผู้รับซื้อฝากเสมอไป เนื่องจากเจ้าของทรัพย์สามารถเจรจาหรือคุยกับทางผู้รับซื้อฝากเรื่องขอต่อสัญญาได้ เมื่อทรัพย์ต่อสัญญาขายฝากแล้วก็จะขยายระยะเวลาในการไถ่ถอนออกไปอีก โฉนดติดขายฝาก

การต่อสัญญาขายฝาก คือการขยายระยะเวลาในการชำระหนี้และไถ่ถอนทรัพย์สินที่ขายฝากออกไปจากเดิม โดยต้องได้รับความยินยอมจากทั้งสองฝ่าย คือ ผู้ขายฝาก (เจ้าของทรัพย์เดิม) และผู้ซื้อฝาก (ผู้ให้กู้)

นอกจากการขยายสัญญาขายฝากเพื่อไม่ให้ โฉนดติดขายฝาก ไปเป็นสิทธิ์ของผู้รับซื้อฝากแล้ว ยังมีค่าธรรมเนียมการต่อสัญญาด้วย ทรัพย์จะต้องชำระค่าใช้จ่ายการขยายสัญญาเพิ่มเติมแต่จำนวนเงินจะไม่สูงเหมือนตอนโอนขายฝากครั้งแรก ตัวเลขจะอยู่ที่ประมาณหลักร้อย ขึ้นอยู่กับทรัพย์แต่ละแปลง

เงื่อนไขในการต่อสัญญา ทรัพย์จะต้องเจรจากับผู้รับซื้อฝากเพื่อตกลงเรื่องดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม และเงื่อนไขอื่นๆ ให้ชัดเจนด้วย เช่น ผู้รับซื้อฝากให้ต่อสัญญาแต่ขอปรับอัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น หรือบางคนอาจจะให้จ่ายดอกเบี้ยในอัตราเท่าเดิม

โฉนดติดขายฝาก เจ้าของหาเงินมา ไถ่ถอน ไม่ทันภายในระยะเวลาจะเกิดอะไรขึ้น?

เหตุผลส่วนใหญ่ที่ผู้ขายฝากหาเงินมาไถ่ถอนคืนไม่ทัน อาจจะมาจากหลายปัจจัย เช่น หมุนเงินไม่ทันสถานการณ์ทางการเงินเปลี่ยนแปลง ทำให้หาเงินมาชำระหนี้ได้ไม่ทันตามที่ตกลงกันไว้ หรือ ต้องการเวลาเตรียมตัว ต้องการเวลาในการจัดหาเงินก้อนใหญ่ หรือวางแผนการเงินให้รอบคอบมากขึ้น จึงอาจจะยังไม่สะดวกมาไถ่ถอนภายในระยะเวลาที่กำหนดได้ เลยต้องขอเลื่อนออกไปเพื่อให้สภาพคล่องทางการเงินไม่รัดตัวและมีเงินก้อนพร้อมที่จะไถ่สินทรัพย์คืนได้ตามระยะเวลาที่กำหนด โฉนดติดขายฝาก

หลายๆ คนอาจมองว่า การนำสินทรัพย์มาทำขายฝากนั้นมีความเสี่ยงสูงที่ทรัพย์จะหลุดไปเป็นของผู้รับซื้อฝาก แต่ถ้าหากเราไม่พร้อมหรือมีปัญหาทางการเงินที่ไม่สามารถมาไถ่สินทรัพย์คืนได้นั้น ก็สามารถเจรจาหรือพูดคุยกับทางผู้รับซื้อฝากขอขยายสัญญาออกไปได้ โฉนดติดขายฝาก

หมุนเงินไม่ทัน ต้องการเงินด่วน Property4Cash ช่วยคุณได้ อนุมัติไวและไม่มีนโยบายยึดทรัพย์อย่างแน่นอน  นึกถึงจำนอง-ขายฝาก นึกถึง Property4Cash นะคะ

 

Property4Cash ยินดีให้คำปรึกษาและช่วยเพิ่มทุนให้กับทุกคนที่ต้องการเงินด่วน และต้องการเงินเพื่อนำไปต่อยอดธุรกิจ ไม่เช็คแบล็คลิส ไม่เช็คเครดิตบูโร

อนุมัติรวดเร็วทันใจ นึกถึงจำนอง-ขายฝาก นึกถึง Property4Cash

Line: @Property4Cash

โทร : 0968135989

หรือส่งรายละเอียดทรัพย์มาได้ที่ https://property4cash.co/post-property/

นึกถึงขายฝาก.. นึกถึง Property 4 Cash

ดอกเบี้ยต่ำ อนุมัติเร็ว ถูกกฎหมาย 100%

อ่านบทความอื่นๆเพิ่มเติมได้ที่ : https://property4cash.co/articles/

หรือ https://facebook.com/propertyforcashofficial

ลงทะเบียนเป็นนักลงทุน

กรุณากรอก ชื่อ
กรุณากรอก นามสกุล
กรุณากรอก เบอร์โทรศัพท์
กรุณากรอก LINE ID
กรุณากรอก อีเมล
บาท
please verify you are human

บทความเเละข่าวสารแนะนำ

28
Mar 23
5 ข้อต้องรู้ก่อนนำที่ดินไปขายฝาก

หากเอ่ยถึงการนำทรัพย์สิน ประเภทอสังหาริมทรัพย์ เช่น บ้าน คอนโด  ที่ดิน หรือ รถ ไปเป็นหลักทรัพย์เพื่อแลกกับเงินก้อน การขายฝากก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจ สำหรับผู้ที่ต้องการใช้เงินด่วน แต่ก่อนจะนำที่ดินหรือทรัพย์สินไปทำการขายฝาก เราจะพาทุกท่านไปดูส่วนสำคัญที่จำเป็นต้องรู้ ก่อนจะเข้าสู่กระบวนการขายฝากกันค่ะ ในการขายฝากต้องส่งมอบทรัพย์สินและกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินให้ผู้รับซื้อฝาก ผู้ขายฝากจึงไม่สามารถใช้ประโยชน์ในทรัพย์สินต่อไป ไม่ว่าบ้าน คอนโด ที่ดิน จนกว่าจะมีการไถ่ทรัพย์สินที่ขายฝากคืน แต่ในทางปฏิบัติแล้ว ผู้รับซื้อฝาก มักจะยินยอมให้ผู้ขายฝากใช้ประโยชน์ต่อไปได้ ตามแต่ตกลงกัน ผู้ขายฝากมีสิทธิไถ่ทรัพย์สินคืนตามเงื่อนไขและระยะเวลาที่กำหนดในสัญญาขายฝาก โดยกรณีอสังหาริมทรัพย์ กำหนดเวลาไถ่ทรัพย์สินคืนได้ไม่เกิน 10 ปี นับแต่เวลาขายฝาก หากผู้ขายฝากไม่มาไถ่ทรัพย์สินคืนตามเงื่อนไขและระยะเวลาที่กำหนด ผู้ขายฝากจะหมดสิทธิในการไถ่ทรัพย์สินคืนทันที โดยไม่ต้องชำระเงินเพิ่มเติมให้ผู้รับซื้อฝากอีก การขายฝากส่วนใหญ่ผู้ขายฝากจะได้วงเงินประมาณ 40-70% ของราคาประเมิน ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนขายฝาก ในอัตรา […]

อ่านเพิ่มเติม
10
May 24
5 ธุรกิจแฟรนไชส์ น่าลงทุนประจำปี 2567

เบื่องานประจำ อยากมีธุรกิจส่วนตัว แต่ยังคิดไม่ออกจะขายอะไร ไม่รู้จะเริ่มยังไง การลงทุนทำ ธุรกิจแฟรนไชส์ จึงกลายเป็นคำตอบ เพราะสามารถสร้างรายได้ง่าย มาพร้อมกับระบบการทำงาน มีฐานลูกค้าเดิมแถมมีที่ปรึกษาให้  ปัจจุบันมี ธุรกิจแฟรนไชส์ เกิดขึ้นมากมาย แต่จะมีธุรกิจอะไรบ้างที่น่าสนใจ ไปดูกันเลย   แฟรนไชส์ธุรกิจกลุ่มอาหารและเครื่องดื่ม  เป็นธุรกิจที่ได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง เพราะปัจจัยหลักในการใช้ชีวิตของทุกคนที่ต้องกิน ดื่ม ในทุกวัน ธุรกิจแฟรนไชส์กลุ่มนี้เลยเป็นกลุ่มที่น่าลงทุนอย่างมาก โดยธุรกิจแฟรนไชส์นี้มีตั้งแต่ร้านอาหารสตรีทฟู้ด ร้านอาหารจานด่วน ร้านกาแฟ และร้านเบเกอรี่  ซึ่งเป็นธุรกิจที่ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้เป็นอย่างดี โดยแฟรนไชส์อาหารและเครื่องดื่ม ที่น่าสนใจ ยกตัวอย่างเช่น ไก่ย่างห้าดาว, ก๋วยเตี๋ยวเรือ ป.ประทีป, MIXUE, ชาตรามือ เป็นต้น   แฟรนไชส์ธุรกิจค้าปลีก  ธุรกิจค้าปลีกยังเป็นธุรกิจที่น่าสนใจอีกเช่นเคย ผู้บริโภคยังมีความต้องการซื้อสินค้าจากร้านค้าปลีกในชีวิตประจำวัน  สำหรับกลุ่มนี้ประกอบไปด้วย ร้านสะดวกซื้อ ร้านขายยา ร้านอุปกรณ์ก่อสร้าง หรือร้านเครื่องเขีย […]

อ่านเพิ่มเติม
ติดเครดิตบูโร จำนองขายฝากได้ไหม
8
Mar 23
ติดเครดิตบูโร จำนองขายฝากได้ไหม

เพื่อนๆ หลายคนก็น่าจะเคยได้ยินเคยได้เห็นคำว่า บูโร เครดิตบูโร ติดเครดิตบูโร มากันบ้าง แต่ยังไม่รู้ความหมายของคำว่า เครดิตบูโร คืออะไร และเครดิตบูโรมีความสำคัญอย่างไรนะ คนติดเครดิตบูโร จำนอง ขายฝาก ได้ไหม วันนี้เราจะพาเพื่อนๆ ไปไขความกระจ่างกัน ไปดูกันเลยค่ะ ทำความรู้จักกับเครดิตบูโร คือ  ข้อมูลประวัติการชำระหนี้ของเรา ที่สามารถนำมาดูเพื่อบอกถึงสถานะทางการเงินของแต่ละคนได้ ซึ่งจะประเมินจากพฤติกรรมการใช้จ่าย ซื้อของ ผ่อนชำระสินค้าและบริการต่างๆ ที่เก็บบันทึกโดย บริษัทข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จำกัด เป็นศูนย์รวมข้อมูลเครดิตของผู้กู้ ทำหน้าที่รวบรวมข้อมูลเครดิตจากสถาบันการเงินหลาย ๆ แห่งที่เป็นสมาชิกของบริษัท โดยเครดิตบูโรจะเก็บรวบรวมข้อมูลสินเชื่อที่เคยได้รับอนุมัติจากสถาบันการเงิน ประวัติการชำระสินเชื่อ ประวัติการผ่อนชำระ เคยขอสินเชื่ออะไรมาบ้าง ติดเครดิตบูโรคืออะไร คือ การที่เรามีพฤติกรรมการชำระหนี้  ผิดนัดชำระหนี้บ่อยครั้ง หรือไม่ชำระหนี้เลย ระบบของ บริษัทข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จำกัด จะแสดงผลเก็บรวมรวมข้อมูลทั้งหมด ทำให้เวลาจะไปขอสินเชื่อธนาคาร หรือ สถาบันการเงินต่างๆ จะเข้าไปเช็คว่า เรามีประ […]

อ่านเพิ่มเติม