จัดการสินสมรส ในรูปแบบอสังหา แบ่งอย่างไรให้ลงตัว
1
Dec 23

ปัญหาการหย่าร้างมีมากกว่าขึ้นทุกปี ซึ่งสาเหตุของการหย่าร้างมาจากทั้ง 2 ฝ่าย
เกิดจากถูกกดดันจากครอบครัวและความไม่เข้าใจกัน ทำให้เกิดครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวมากขึ้น
และสิ่งที่ตามมาหลังจากการหย่าร้างกันนั้นคือ “จัดการสินสมรส” ที่อาจทำให้เกิดความขัดแย้งต่อกันมากที่สุด

ยิ่งสินสมรสนั้นเป็น อสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดิน บ้าน คอนโดมิเนียม
ที่ซื้อมาร่วมกันโดยไม่ใช่การรับมรดก
ถือว่าเป็นทรัพย์สินที่มักมีราคาค่างวดมาก
การจะทำอะไรที่เป็นการทำให้สิทธิที่มีอยู่อาจเสียไปอย่าง
เช่น การขาย จะต้องได้รับความยินยอมจากคู่สมรสอีกฝ่าย

กฎหมายจึงเปิดโอกาสให้คู่สมรสสามารถตกลงวิธีการ
เงื่อนไข และข้อจำกัดเกี่ยวกับสินสมรสกันๆ ได้เห็นสมควร
ตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1476 กำหนดวิธี จัดการสินสมรส ไว้
เรื่อง คู่สมรสต้องจัดการสินสมรสร่วมกันได้

  1. จัดการอสังหาริมทรัพย์ร่วมกัน

ในส่วนของอสังหาริมทรัพย์ ไม่ว่าจะบ้านหรือที่ดิน
จะทำการขาย แลกเปลี่ยน ขายฝากให้เช่าชื้อ
จำนอง ปลดจำนอง หรือโอนสิทธิจำนอง
ต้องได้รับการยินยอมร่วมกัน

  1. ให้ผู้อื่นเช่าอสังหาริมทรัพย์เกิน 3 ปี

เมื่อมีการปล่อยให้เช่าในระยะเวลาเกิน 3 ปี สามีและภรรยาต้องตกลงและทำธุรกรรมร่วมกัน
หากมีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดไม่ยินยอม สามีหรือภรรยามีสิทธิฟ้องเพิกถอนได้

  1. ให้ทรัพย์สินโดยเสน่หา

หากจะมีการยกอสังหาริมทรัพย์นั้น เช่น บ้าน ที่ดิน คอนโด เป็นของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง
ต้องได้รับความยินยอมจากทั้งสองฝ่าย ยกเว้นการให้ที่พอสมควรตามฐานะเพื่อการกุศลหรือเพื่อสังคม

  1. การเอาสินสมรสไปเป็นหลักประกัน

ถ้ามีนำอสังหาริมทรัพย์ไปเป็นหลักประกันในการทำสัญญาต่างๆ
จะต้องได้รับยินยอมร่วมกัน และทำธุรกรรมร่วมกัน
ยกเว้นในกรณีใช้ตำแหน่งส่วนตัวไม่ต้องยินยอมจากคู่สมรส

  1. ประนีประนอมยอมความ

หากแบ่งสินสมรสไม่ลงตัว ไม่ว่าจะฝ่ายสามีหรือฝ่ายภรรยา
ทั้งสองฝ่ายจะทำการประนีประนอมยอมความกันเกิดขึ้น
เพื่อทำให้เกิดความยุติธรรมมากที่สุด

  1. มอบข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการวินิจฉัย

ถ้ามีการตกลงกันในเรื่องสินสมรสในรูปแบบอสังหาไม่ลงตัว
ทั้งสามีและภรรยาสามารถขอศาลให้มอบข้อพิพาท
เกี่ยวกับสินสมรสให้บุคคลที่คู่กรณีแต่งตั้งขึ้น
หรืออนุญาโตตุลาการวินิจฉัยตัดสินข้อพิพาทเพื่อให้เกิดยุติธรรมที่สุด

อย่างไรก็ตาม สินสมรสที่เป็น “อสังหาริมทรัพย์”
จะเป็นบ้าน ที่ดิน คอนโดมิเนียม ที่ซื้อมาร่วมกันไม่ใช่การรับมรดก
การจะทำอะไรสักอย่าง เช่น ทำสัญญาต่างๆ ปล่อยให้เช่า ซื้อขาย จะต้องได้รับการยินยอมจากทุกฝ่าย
หากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งฝ่าฝืน กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1480
กำหนดไว้ให้ฝ่ายนั้นมีสิทธิฟ้องร้องต่อศาลภายใน 1 ปี นับแต่วันที่ได้รู้เหตุ
แต่ถ้าในกรณีที่มาฟ้องศาลหลังจากพ้น 10 ปีไปแล้ว
ศาลจะเพิ่งถอนนิติกรรมที่ตนไม่รู้ไม่เห็นและให้ยินยอมว่า “ตนนั้นยอมรับนิติกรรมไปแล้ว”นั้นเองค่ะ

จัดการสินสมรส ในรูปแบบอสังหา แบ่งอย่างไรให้ลงตัว

—————————————————–

สนใจจำนอง-ขายฝาก หรือปรึกษาปัญหา ติดต่อเราได้ทาง

Line: @Property4Cash
โทร : 0968135989

หรือส่งรายละเอียดทรัพย์มาได้ที่ https://property4cash.co/post-property/

นึกถึงขายฝาก.. นึกถึง Property 4 Cash
ดอกเบี้ยต่ำ อนุมัติเร็ว ถูกกฎหมาย 100%

อ่านบทความอื่นๆเพิ่มเติมได้ที่ : https://property4cash.co/articles/

หรือ https://facebook.com/propertyforcashofficial

ลงทะเบียนเป็นนักลงทุน

กรุณากรอก ชื่อ
กรุณากรอก นามสกุล
กรุณากรอก เบอร์โทรศัพท์
กรุณากรอก LINE ID
กรุณากรอก อีเมล
บาท
please verify you are human

บทความเเละข่าวสารแนะนำ

ขายฝากจำนอง ธุรกรรมหมุนเงินคล่องตัวสำหรับคนต้องการเงินก้อน
4
Sep 24
ขายฝากจำนอง ธุรกรรมหมุนเงินคล่องตัวสำหรับคนต้องการเงินก้อน

ขายฝากจำนอง คือสัญญาที่เจ้าของทรัพย์สิน นำทรัพย์สินไปค้ำเป็นหลักประกันทำขายฝากจำนองเพื่อขอสินเชื่อ โดยมีเงื่อนไขว่าเจ้าของทรัพย์สินจะต้องมาไถ่ทรัพย์สินคืนภายในระยะเวลาที่กำหนด และชำระเงินให้ครบตามจำนวนตามเงื่อนไขสัญญา ทำไมในปัจจุบันนี้คนที่ต้องการเงินก้อนต้องเลือกขายฝากจำนอง เพราะเป็นธุรกรรมที่ถูกกฎหมาย 100% -ได้เงินสดอย่างรวดเร็ว กระบวนการอนุมัติและโอนกรรมสิทธิ์รวดเร็วกว่าการกู้ธนาคาร -อัตราดอกเบี้ยอาจจะต่ำกว่าการกู้ธนาคารในบางกรณี เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยของธนาคารนั้นไม่คงที่ -สามารถรักษาทรัพย์สินไว้แม้จะโอนกรรมสิทธิ์ชั่วคราว แต่คุณยังอยู่อาศัยหรือใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินได้ -ไม่ต้องมีคนค้ำประกันและไม่เช็คเครดิตบูโรให้ยุ่งยากเหมือนการกู้ธนาคาร ผู้ที่ต้องการเงินด่วน เงินก้อนนั้นในปัจจุบันนี้ก็ต่างนำเอาทรัพย์สิน หรืออสังหาริมทรัพย์ของตนมาทำ ขายฝากจำนอง กันเป็นจำนวนมาก เพื่อทำไปใช้ประโยชน์ส่วนตัว หรือเพื่อลงทุนประกอบในธุรกิจ ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นเงินทุนที่สามารถหมุนเวียนกับความต้องการของหลายๆคนเลยทีเดียว หรือใครที่อยากจะเริ่มทำธุรกิจ สร้างกิจการใหม่ๆแต่ยังไม่มีเงินก้อนตรงนี้ก็สามารถนำอสังหาร […]

อ่านเพิ่มเติม
20
May 24
ไขข้อข้องใจ จำนอง ขายฝาก ต่างกันอย่างไร สัญญาแบบไหนได้เงินเยอะกว่า ?

ช่วงหลายปีที่ผ่านมาการขายฝาก จำนอง กลายเป็นทางเลือกหลักสำหรับผู้ที่มีทรัพย์สิน ที่ต้องการเงินด่วนเพื่อใช้จ่ายในธุรกิจหรือใช้จ่ายในครอบครัว เมื่อกระแสความต้องการที่มากขึ้น คำถามที่ทีมผู้เชี่ยวชาญของเรา ได้รับกันมาเยอะมากคือ ขายฝาก กับ จำนอง สัญญาแบบไหนได้เงินเยอะกว่ากัน ?    วันนี้ Property4Cash จะมาตอบคำถามนี้ให้กับทุกคน เพื่อเป็นแนวทางในการตัดสินใจทำสัญญาขายฝาก – จำนอง ถ้าพร้อมไปกันเลยค่ะ     ขายฝาก จำนอง ต่างกันอย่างไร ? ก่อนที่จะพูดถึงจำนวนเงินกัน ขออธิบายสั้นๆเกี่ยวกับความต้องของการขายฝากและจำนองกันก่อน  การขายฝากนั้น ผู้ขายฝากต้องโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินให้ผู้รับซื้อฝาก โดยผู้ขายฝากสามารถไถ่ทรัพย์สินคืนได้ตามเงื่อนไขและเวลาที่กำหนด   ในส่วนของการจำนอง คือการนำทรัพย์สินมาเป็นหลักประกันเพื่อขอกู้และชำระหนี้  โดยผู้จำนองไม่ต้องส่งมอบทรัพย์สินให้ผู้รับจำนอง โดยทรัพย์สินยังเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้จำนองอยู่        ขายฝาก กับ จำนอง สัญญาแบบไหนได้เงินเยอะกว่ากัน ? อ่านมาถึงตรงนี้คงจะเข้าความต่างกันมากขึ้นแล้ว สำหรับคำถามที่ว่าขายฝาก และ จำนอง แบบไหนที่ได้เงินมากกว่า คำตอบ […]

อ่านเพิ่มเติม
ซื้อที่ดินติดจำนอง ต้องตรวจสอบหรือระวังอะไรบ้าง
5
Jan 23
ซื้อที่ดินติดจำนองต้องตรวจสอบหรือระวังอะไรบ้าง

คิดจะซื้ออสังหาฯ ที่มีมูลค่าสูง  อย่างคอนโด  บ้าน หรือที่ดิน คงจะต้องตรวจสอบกันสักหน่อย ไม่อย่างนั้นอาจมารู้ทีหลังว่า อสังหาฯที่เราซื้อนั้น “ติดจำนอง” แล้วอาจมานั่งปวดหัวทีหลัง อย่าคิดว่า อสังหาฯติดจำนองนั้นซื้อขายไม่ได้ จริงๆแล้วสามารถซื้อขายได้นะคะ ก่อนคิดจะ ซื้อที่ดินติดจำนอง ต้องตรวจสอบหรือระวังอะไรบ้าง ที่ดินติดจำนองคืออะไร? การที่ผู้จำนองนำทรัพย์สินที่มีค่านำมาประกันเพื่อกู้เงินมาใช้  โดยใช้เป็นหลักประกันคือ อสังหาริมทรัพย์ คือ ทรัพย์สินที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ เช่น คอนโด โฉนดที่ดิน บ้าน อาคารพาณิชย์ โดยการจำนอง ผู้จำนองต้องนำสินทรัพย์ไปจดทะเบียนไว้กับผู้รับจำนอง ซึ่งต้องกระทำต่อหน้าเจ้าหน้าที่กรมที่ดินเท่านั้น ทั้งนี้ไม่ต้องโอนที่ดินหรือทรัพย์สินดังกล่าวให้แก่ผู้รับจำนอง ที่ดินติดจำนองจะตรวจสอบได้อย่างไร เมื่อซื้อที่ดินกับคนไม่รู้จักเราจะรู้ได้ไงว่าทรัพย์นั้นที่จะซื้อติดจำนองไหม เราขอแนะนำให้เอาสำเนาโฉนดที่ดินที่จะซื้อไปเช็คกับที่ดิน สำนักงานสาขาหรือจังหวัดที่แปลงที่ดินนั้นตั้งอยู่ เพื่อขอตรวจดูหลังโฉนดที่ดิน (สารบัญทะเบียน) แปลงที่จะซื้อ ซึ่งหากมีนิติกรรมอะไรเกี่ยวกับโฉนดใบนี้ […]

อ่านเพิ่มเติม