โฉนดติดขายฝาก
28
Aug 24

โฉนดติดขายฝาก การทำธุรกรรมขายฝากโดยทั่วไปแล้ว สัญญาขายฝากจะมีระยะเวลาในการ ไถ่ถอน ที่กำหนดไว้ชัดเจน หากเจ้าของทรัพย์ไม่สามารถหาเงินมาชำระหนี้ตามจำนวนที่ตกลงกันไว้ได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด สัญญาขายฝากจะกลายเป็นเสมือนสัญญาซื้อขายโดยอัตโนมัติ ซึ่งหมายความว่า เจ้าหนี้ (ผู้รับซื้อฝาก) จะถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินแปลงนั้นไปโดยชอบด้วยกฎหมาย และเจ้าของทรัพย์จะสูญเสียสิทธิในการเป็นเจ้าของที่ดินแปลงนั้นไป

แต่การนำอสังหาริมทรัพย์มาทำธุรกรรมขายฝากนั้นก็ไม่ได้เสี่ยงที่ทรัพย์จะตกไปเป็นสิทธิ์ของผู้รับซื้อฝากเสมอไป เนื่องจากเจ้าของทรัพย์สามารถเจรจาหรือคุยกับทางผู้รับซื้อฝากเรื่องขอต่อสัญญาได้ เมื่อทรัพย์ต่อสัญญาขายฝากแล้วก็จะขยายระยะเวลาในการไถ่ถอนออกไปอีก โฉนดติดขายฝาก

การต่อสัญญาขายฝาก คือการขยายระยะเวลาในการชำระหนี้และไถ่ถอนทรัพย์สินที่ขายฝากออกไปจากเดิม โดยต้องได้รับความยินยอมจากทั้งสองฝ่าย คือ ผู้ขายฝาก (เจ้าของทรัพย์เดิม) และผู้ซื้อฝาก (ผู้ให้กู้)

นอกจากการขยายสัญญาขายฝากเพื่อไม่ให้ โฉนดติดขายฝาก ไปเป็นสิทธิ์ของผู้รับซื้อฝากแล้ว ยังมีค่าธรรมเนียมการต่อสัญญาด้วย ทรัพย์จะต้องชำระค่าใช้จ่ายการขยายสัญญาเพิ่มเติมแต่จำนวนเงินจะไม่สูงเหมือนตอนโอนขายฝากครั้งแรก ตัวเลขจะอยู่ที่ประมาณหลักร้อย ขึ้นอยู่กับทรัพย์แต่ละแปลง

เงื่อนไขในการต่อสัญญา ทรัพย์จะต้องเจรจากับผู้รับซื้อฝากเพื่อตกลงเรื่องดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม และเงื่อนไขอื่นๆ ให้ชัดเจนด้วย เช่น ผู้รับซื้อฝากให้ต่อสัญญาแต่ขอปรับอัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น หรือบางคนอาจจะให้จ่ายดอกเบี้ยในอัตราเท่าเดิม

โฉนดติดขายฝาก เจ้าของหาเงินมา ไถ่ถอน ไม่ทันภายในระยะเวลาจะเกิดอะไรขึ้น?

เหตุผลส่วนใหญ่ที่ผู้ขายฝากหาเงินมาไถ่ถอนคืนไม่ทัน อาจจะมาจากหลายปัจจัย เช่น หมุนเงินไม่ทันสถานการณ์ทางการเงินเปลี่ยนแปลง ทำให้หาเงินมาชำระหนี้ได้ไม่ทันตามที่ตกลงกันไว้ หรือ ต้องการเวลาเตรียมตัว ต้องการเวลาในการจัดหาเงินก้อนใหญ่ หรือวางแผนการเงินให้รอบคอบมากขึ้น จึงอาจจะยังไม่สะดวกมาไถ่ถอนภายในระยะเวลาที่กำหนดได้ เลยต้องขอเลื่อนออกไปเพื่อให้สภาพคล่องทางการเงินไม่รัดตัวและมีเงินก้อนพร้อมที่จะไถ่สินทรัพย์คืนได้ตามระยะเวลาที่กำหนด โฉนดติดขายฝาก

หลายๆ คนอาจมองว่า การนำสินทรัพย์มาทำขายฝากนั้นมีความเสี่ยงสูงที่ทรัพย์จะหลุดไปเป็นของผู้รับซื้อฝาก แต่ถ้าหากเราไม่พร้อมหรือมีปัญหาทางการเงินที่ไม่สามารถมาไถ่สินทรัพย์คืนได้นั้น ก็สามารถเจรจาหรือพูดคุยกับทางผู้รับซื้อฝากขอขยายสัญญาออกไปได้ โฉนดติดขายฝาก

หมุนเงินไม่ทัน ต้องการเงินด่วน Property4Cash ช่วยคุณได้ อนุมัติไวและไม่มีนโยบายยึดทรัพย์อย่างแน่นอน  นึกถึงจำนอง-ขายฝาก นึกถึง Property4Cash นะคะ

 

Property4Cash ยินดีให้คำปรึกษาและช่วยเพิ่มทุนให้กับทุกคนที่ต้องการเงินด่วน และต้องการเงินเพื่อนำไปต่อยอดธุรกิจ ไม่เช็คแบล็คลิส ไม่เช็คเครดิตบูโร

อนุมัติรวดเร็วทันใจ นึกถึงจำนอง-ขายฝาก นึกถึง Property4Cash

Line: @Property4Cash

โทร : 0968135989

หรือส่งรายละเอียดทรัพย์มาได้ที่ https://property4cash.co/post-property/

นึกถึงขายฝาก.. นึกถึง Property 4 Cash

ดอกเบี้ยต่ำ อนุมัติเร็ว ถูกกฎหมาย 100%

อ่านบทความอื่นๆเพิ่มเติมได้ที่ : https://property4cash.co/articles/

หรือ https://facebook.com/propertyforcashofficial

ลงทะเบียนเป็นนักลงทุน

กรุณากรอก ชื่อ
กรุณากรอก นามสกุล
กรุณากรอก เบอร์โทรศัพท์
กรุณากรอก LINE ID
กรุณากรอก อีเมล
บาท
please verify you are human

บทความเเละข่าวสารแนะนำ

ไถ่ถอนขายฝาก
10
Jan 23
เฮ้ย! ไถ่ถอนขายฝาก ต้องเสียค่าธรรมเนียมด้วยหรอ!!!

เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่า การทำขายฝากนั้น ต้องเสียค่าธรรมเนียมที่สำนักงานที่ดิน เสมือนว่าเป็นการซื้อขายกันปกติ แต่ผู้ขายฝากหลายๆ คนนั้นไม่รู้ และนายทุนผู้รับขายฝากหรือนายหน้าก็ไม่ได้บอกเราไว้ ทำให้เจ้าของทรัพย์ที่มาทราบทีหลัง ตกใจกับค่าใช้จ่ายที่งอกขึ้นมาแบบไม่ทันตั้งตัว ไม่ทันได้เตรียมใจมาก่อน เรามาดูกันดีกว่าว่า ค่าใช้จ่ายในการ ไถ่ถอนขายฝาก นั้น มีอะไรบ้าง..? การไถ่ถอนขายฝาก เปรียบเสมือน “การซื้อกลับ” แต่เป็นการซื้อกลับภายในระยะเวลาสัญญาที่ตกลงกันไว้ โดยมีค่าใช้จ่ายในการไถ่ถอนเหมือนกับการซื้อขายโดยทั่วไปตามปกติเช่นกัน ทำให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายที่สำนักงานที่ดินอีกครั้ง ทั้งในกรณีบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล  ค่าใช้จ่ายการ ไถ่ถอนขายฝาก ค่าธรรมเนียม – แปลงละ 50 บาท ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย – คำนวณตามระยะเวลาถือครอง ตามเกณฑ์ของกรมสรรพากร นับตั้งแต่วันที่ได้ทำสัญญาขายฝากจนถึงวันที่จดทะเบียนไถ่ถอนขายฝาก อากรแสตมป์ – ร้อยละ 50 สตางค์ (0.50%) โดยคำนวณจากราคาที่จดทะเบียนขายฝาก หรือ ราคาประเมินจากกรมที่ดินในขณะนั้น แล้วแต่ว่าราคาใดมากกว่า  **หมายเหตุ การไถ่ถอนขายฝาก โดยหลักการแล้ว […]

อ่านเพิ่มเติม
กู้ร่วม แต่ผู้กู้ร่วมอีกคนเสียชีวิต ทำจำนองขายฝากได้ไหม?
2
Jul 24
กู้ร่วมแต่ผู้กู้ร่วมอีกคนเสียชีวิต ทำจำนองขายฝากได้ไหม?

หลายคนคงเคยกังวลว่าหากเรา กู้ร่วม ซื้อบ้านหรือคอนโดกับใครสักคน แล้วเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝัน ผู้กู้ร่วมเสียชีวิต เราจะทำอย่างไรต่อ? โดยเฉพาะเรื่อง มรดก การผ่อนชำระสินเชื่อ หรือ  การขายฝาก จำนอง บทความนี้จะมาไขข้อสงสัยเหล่านี้ให้กระจ่าง พร้อมอธิบายแนวทางปฏิบัติอย่างละเอียด เมื่อเผชิญสถานการณ์สูญเสียผู้กู้ร่วม เมื่อผู้กู้ร่วมเสียชีวิต สัญญาจะยังคงอยู่หรือไม่? ตอบ: สัญญากู้ยืมเพื่อที่อยู่อาศัยยังคงมีผลผูกพันแม้ว่าผู้กู้ร่วมจะเสียชีวิตก็ตาม ภาระหนี้สิน มรดก ต่างๆ จะตกไปอยู่กับผู้ กู้ร่วม ที่ยังมีชีวิตอยู่และทายาทของผู้เสียชีวิต แล้วทายาทมีสิทธิ์อะไรบ้าง? ตอบ: ทายาทของผู้เสียชีวิตมีสิทธิ์เลือกดังนี้ รับสืบทอดหนี้สิน: ทายาทสามารถรับสืบทอดหนี้สินต่อจากผู้เสียชีวิต โดยจะต้องผ่อนชำระสินเชื่อร่วมกับผู้กู้ร่วมที่ยังมีชีวิตอยู่ สละสิทธิ์: ทายาทสามารถสละสิทธิ์ไม่รับสืบทอดหนี้สิน กรณีนี้ธนาคารอาจพิจารณาให้ผู้กู้ร่วมที่ยังมีชีวิตอยู่กู้ต่อเพียงลำพัง หรือหาผู้กู้ร่วมใหม่ ขายทรัพย์สินเพื่อชำระหนี้: ทายาทสามารถขายบ้านหรือคอนโดเพื่อนำเงินมาชำระหนี้สิน กรณีต้องการขายฝากหรือจำนอง กรณีผู้กู้ร่วมเสียชีวิต การทำ […]

อ่านเพิ่มเติม
23
Sep 23
เลือกตัวแทนอสังหาฯ ให้ถูกใจ เลือกอย่างไร ให้ไม่พลาด

“ความน่าเชื่อถือ” มักเป็นสิ่งแรกที่เรามองหาเมื่อต้องการจะซื้อสินค้าหรือบริการอะไรสักอย่าง ตั้งแต่เรื่องเล็ก ๆ อย่างการซื้ออาหาร ไปจนถึงการลงทุนในระดับที่สูงขึ้น เพราะมันเป็นเครื่องการันตีว่าการตัดสินใจของเรานั้นเป็นการตัดสินใจที่ถูกต้องและคุ้มค่ากับราคาเสียไป สำหรับการลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์ก็เช่นเดียวกัน เนื่องจากเป็นการลงทุนที่เกี่ยวข้องกับเงินจำนวนมาก บางครั้งอาศัยความรู้อย่างเดียวอาจไม่พอ ยังต้องอาศัย “ประสบการณ์” และ “ความเชี่ยวชาญ” อีกด้วย และนั่นเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้หลายต่อหลายคน มองหาบริการจากตัวแทน ก่อนตัดสินใจลงทุนอสังหาริมทรัพย์ เพราะช่วยลดความเสี่ยงลงไปได้มากกว่า ซึ่งตัวแทนอสังหาฯ ที่ “น่าเชื่อถือ” นั้นควรจะมีจะมีลักษณะอย่างไรบ้าง ตามมาดูกันเลยค่ะ . การตรงต่อเวลา ถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างมาก เราคงจะประทับใจกับตัวแทนที่มาตรงเวลานัดหมาย หรือ มาก่อนเวลามากกว่า เพราะนั่นเท่ากับว่าเขาให้ความสำคัญกับเรา เราคงจะรู้สึกไม่ดีใช่ไหมล่ะคะ ถ้าสมมติว่าเราฝากเช่าห้องกับเอเจนซีหนึ่ง แต่ตัวแทนกลับมาช้า หากเหตุการณ์นี้เกิดกับผู้ที่สนใจเช่าห้องของเราคงไม่ดีแน่ นอกจากนี้ การแต่งกายที่สุภาพและ […]

อ่านเพิ่มเติม