28
May 24

อันตราย ! หากทำผิด สัญญาขายฝาก 

ควรศึกษาให้ดี ก่อนเริ่มทำสัญญาขายฝาก 

ผู้ขายฝากควรปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญา ในกรณีผู้ขายฝากทำผิดสัญญาหรือฝ่าฝืนเงื่อนไขที่ระบุไว้ ผู้รับซื้อฝากสามารถดำเนินการเอาผิดทางกฎหมายได้ 

  1. ผู้รับซื้อฝากฟ้องร้องให้ผู้ขายฝากปฏิบัติตามสัญญา 

หากผู้ขายฝากไม่ชำระเงินตามสัญญา หรือ ไม่ส่งมอบทรัพย์ที่ขายฝาก ผู้รับซื้อฝากสามารถฟ้องร้องเพื่อบังคับให้ผู้ขายฝากปฏิบัติตามสัญญาขายฝาก 

  1. ผู้รับซื้อฝากฟ้องร้องให้ผู้ขายฝากชดใช้ค่าเสียหาย

กรณีที่ผู้ขายฝากทำผิดสัญญาจนก่อให้เกิดความเสียหาย ผู้รับซื้อฝากสามารถฟ้องร้องให้ผู้ขายฝากชดใช้ค่าเสียหายได้ 

  1. ผู้รับซื้อฝากฟ้องร้องเพิกถอนสัญญาขายฝาก

สำหรับบางกรณี ผู้ขายฝากทำผิดสัญญา หรือ ทำการฉ่อโกง ผู้รับซื้อฝากสามารถฟ้องร้องต่อศาลให้เพิกถอนสัญญาได้ ผู้ขายฝากอาจต้องคืนทรัพย์ให้แก่ผู้รับซื้อฝาก และอาจต้องชดใช้ค่าเสียหายเพิ่มอีกด้วย 

ขายฝากกับ Property4Cash ไม่ต้องกลัวทำผิดสัญญา เรามีทีมผู้เชี่ยวชาญคอยให้ปรึกษาและแก้ไขปัญหาไปด้วยกันค่ะ 

อันตราย ! หากทำผิ ด สัญญาขายฝาก

สนใจจำนอง-ขายฝาก หรือปรึกษาปัญหา ติดต่อเราได้ทาง

Line: @Property4Cash

โทร : 096-812-5689

หรือส่งรายละเอียดทรัพย์มาได้ที่ https://property4cash.co/post-property/

นึกถึงขายฝาก.. นึกถึง Property 4 Cash

ดอกเบี้ยต่ำ อนุมัติเร็ว ถูกกฎหมาย 100%

อ่านบทความอื่นๆเพิ่มเติมได้ที่ : https://property4cash.co/articles/

หรือ https://facebook.com/propertyforcashofficial

ลงทะเบียนเป็นนักลงทุน

กรุณากรอก ชื่อ
กรุณากรอก นามสกุล
กรุณากรอก เบอร์โทรศัพท์
กรุณากรอก LINE ID
กรุณากรอก อีเมล
บาท
please verify you are human

บทความเเละข่าวสารแนะนำ

10
May 24
ทำสัญญา “ขายฝาก” ควรเลือกบริษัทแบบไหนดี ?

ปัญหาเศรษฐกิจในปัจจุบัน ทำให้การ “ขายฝาก” กลายเป็นตัวเลือกที่ดีสำหรับประชาชนหรือผู้ประกอบการธุรกิจทั้งขนาดเล็ก – ขนาดใหญ่ ที่ต้องการเงินก้อนเพื่อไปใช้ตามความต้องการ โดยที่ไม่ต้องมีคนค้ำประกัน ไม่ว่าจะติดแบล็คลิส เครดิตบูโร ก็สามารถทำ สัญญาขายฝาก ได้ค่ะ ในปัจจุบันมีบริษัทรับขายฝากเกิดขึ้นมากมาย การตัดสินใจเลือกบริษัทขายฝากเป็นสิ่งสำคัญ สำหรับผู้ที่ต้องขายฝาก แต่ไม่รู้ว่าควรเลือกพิจารณาบริษัทจากสิ่งใด วันนี้ Property4cash มีคำตอบ ประวัติและชื่อเสียงของบริษัท ขั้นตอนแรกของการพิจารณาคือ ประวัติความเป็นมา ชื่อเสียง และฟีดแบคจากลูกค้า โดยสามารถค้นหาข้อมูลได้ จากแหล่งที่น่าเชื่อถือ ตรวจสอบความพึงพอใจของลูกค้าที่เคยใช้บริการ และที่สำคัญที่สุดคือใบอนุญาตประกอบธุรกิจ การจดทะเบียนกับภาครัฐ ถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่ เพื่อความมั่นใจในความปลอดภัยของทรัพย์สิน   ข้อเสนอที่ดีและเหมาะสมที่สุด  ผู้ขายฝากควรเปรียบเทียบข้อเสนอและอัตราดอกเบี้ยในการขายฝากของบริษัทต่างๆ เพื่อให้ได้ข้อเสนอที่พึงพอใจและเหมาะสมที่สุด โดยบริษัทขายฝากบางแห่งอาจให้วงเงิน แต่แฝงเงื่อนไขที่ไม่เหมาะสม ดังนั้นการเลือกขายควรอ่า […]

อ่านเพิ่มเติม
ทำไม การขายฝาก ถึงเป็นตัวเลือกในยามฉุกเฉิน
15
Jan 25
ทำไม การขายฝาก ถึงเป็นตัวเลือกในยามฉุกเฉิน

 >>> ปฎิเสธไม่ได้เลยว่า… การขายฝาก เป็นตัวเลือกที่ดีในยามฉุกเฉิน เพราะในช่วงเวลาฉุกเฉินที่ต้องการเงินสดอย่างรวดเร็ว เช่น อุบัติเหตุด่วน การเจ็บป่วยฉุกเฉิน การชำระหนี้เร่งด่วน หรือการลงทุนที่จำเป็นต่ออนาคต หลายๆ คน ก็จะนึกถึงเงินด่วน ทั้งเงินด่วนสังหา เงินด่วนรถแลกเงิน หรือแม้แต่ของมีค่าที่อยู่ในมืออื่นๆ ก็สามารถทำให้เราเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่สะดวก และรวดเร็วได้นั่นเอง…   และ การขายฝาก เป็นทางหนึ่งที่ทำให้คนที่ต้องการเงินด่วน เข้าถึงแหล่งเงินทุน จากทรัพย์สินที่มีอยู่นั้นเองค่ะ มีทรัพย์สินก็สามารถช่วยให้คุณได้รับเงินสดทันที โดยไม่ต้องสูญเสียสิทธิ์ในทรัพย์สินอย่างถาวร แค่นำมาขายฝาก หากพร้อมเมื่อไหร่ ก็ไถ่ถอนคืนได้ทุกที่   มาทำความรู้กันก่อนว่า ขายฝาก หมายถึงอะไร?   ขายฝาก คือ การทำสัญญาที่ผู้ขายฝากตกลงขายทรัพย์สินของตนให้กับผู้ซื้อฝาก โดยสัญญาตกลงกันว่า… ผู้ขายฝาก สามารถไถ่ถอนทรัพย์สินนั้นกลับคืนได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด ซึ่งแตกต่างจากการขายทั่วไป ที่ผู้ขายจะสูญเสียสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้นไปอย่างถาวร แต่การขายฝาก ยังคงเปิดโอกาสให้ผู้ขายไถ่ถอนทรัพย์สินกลับคืนได้หากมีความ […]

อ่านเพิ่มเติม
ทรัพย์สินหลุดจำนอง จาก กรมบังคับคดี คืออะไร?
23
Jan 25
ทรัพย์สินหลุดจำนอง จาก กรมบังคับคดี คืออะไร?

ทรัพย์สินหลุดจำนอง จาก กรมบังคับคดี คืออะไร? ทรัพย์สินหลุดจำนอง จาก กรมบังคับคดี คือ ทรัพย์สินที่เจ้าของเดิมได้นำไปจำนองกับสถาบันการเงินหรือผู้ให้กู้เงิน แต่ไม่สามารถชำระหนี้ได้ตามเงื่อนไขในสัญญา เมื่อผู้กู้ผิดนัดชำระ เจ้าหนี้จึงดำเนินการทางกฎหมายเพื่อบังคับคดีและนำทรัพย์สินที่จำนองไว้เข้าสู่กระบวนการขายทอดตลาด โดยกรมบังคับคดีเป็นหน่วยงานหลักที่จัดการในกระบวนการดังกล่าว   กระบวนการทรัพย์สินหลุดจำนอง การแจ้งเตือนและฟ้องร้อง เมื่อผู้กู้ผิดนัดชำระ เจ้าหนี้จะส่งหนังสือแจ้งเตือนให้ชำระหนี้ หากยังไม่ดำเนินการ เจ้าหนี้สามารถฟ้องร้องต่อศาลเพื่อเรียกคืนทรัพย์สิน การบังคับคดี หากศาลมีคำพิพากษาให้เจ้าหนี้สามารถบังคับคดีได้ กรมบังคับคดีจะเริ่มกระบวนการตรวจสอบและยึดทรัพย์สินที่จำนองไว้ การขายทอดตลาด ทรัพย์สินที่ถูกยึดจะถูกนำเข้าสู่กระบวนการขายทอดตลาด เพื่อชำระหนี้ที่ค้างอยู่ โดยรายได้จากการขายจะถูกนำไปชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ก่อน หากมีเงินเหลือจะคืนให้เจ้าของเดิม   ข้อดีของการซื้อทรัพย์สินหลุดจำนอง ราคาถูกกว่าในตลาด: ทรัพย์สินหลุดจำนองมักมีราคาต่ำกว่าราคาประเมินหรือราคาตลาด เนื่องจากเป็นการ […]

อ่านเพิ่มเติม