การ จำนอง บ้านระหว่าง ธนาคาร กับ บุคคล ต่างกันอย่างไร
1
Mar 23

คนส่วนใหญ่คนคิดว่า ถ้าจะขอสินเชื่ออสังหา มักจะนึกถึงธนาคารเป็นที่แรก แต่จริงๆ ยังมีแหล่งขอสินเชื่ออีกหลากหลายช่องทาง
อาทิเช่น บุคคลธรรมดา และบริษัท ที่สามารถปล่อยสินเชื่อได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายด้วยเหมือนกัน
วันนี้เราจะพาไปดูข้อแตกต่างระหว่าง การ จำนอง บ้านกับธนาคาร และ กับบุคคล ว่าต่างกันอย่างไร ไปดูกันเลยค่ะ

การจำนองบ้านกับธนาคาร

ข้อดีของการ จำนองบ้านกับธนาคาร

  • ธนาคารจะให้วงเงินในของอนุมัติขอสินเชื่ออยู่ที่ 80%- 100% ของราคาประเมิน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของแต่ละสถาบัน
  • ระยะเวลาการกู้สามารถกู้ได้นานกว่า 10 ปี
  • ดอกเบี้ยจะขึ้นอยู่กับนโยบายดอกเบี้ยแต่ละช่วงเวลานั้น โดยจะอยู่ที่ 5% แต่จะไม่เกิน 10% ต่อปี

ข้อเสียของการ จำนองบ้านกับธนาคาร

  • การจำนองบ้านกับธนาคารมักใช้เวลานานในการพิจารณาอนุมัติสินเชื่อ
  • ใช้เอกสารประกอบการพิจารณาอนุมัติเยอะ และมีการตรวจสอบเอกสารทางการเงิน
  • อายุของผู้กู้ต้องอายุไม่เกิน 55 – 60 ปี
  • ต้องตรวจสอบเครดิตบูโร
  • ธนาคารอาจต้องมีผู้ค้ำประกัน
  • ที่ดินเปล่าส่วนใหญ่ธนาคารจะไม่อนุมัติ

การจำนองบ้านกับบริษัทเอกชน หรือ บุคคล

ข้อดีของการจำนองบ้าน กับบริษัทเอกชน หรือ บุคคล

  • ใช้เวลาในการพิจารณาอนุมัติสินเชื่อรวดเร็วมากสำหรับ การจำนองกับบริษัทเอกชน หรือ กับบุคคลธรรมดา

สามารถพิจารณาได้ทันทีทันใดภายในไม่กี่ชั่วโมง ถ้าเอกสารพร้อม

  • ไม่เช็คเครดิตบูโร ไม่ต้องมีคนค้ำ ไม่เช็คเอกสารทางการเงิน พิจารณาจากทรัพย์ที่มาฝากไว้ก็พอ
  • อายุเยอะก็สามารถทำได้
  • ปลอดภัยถูกกฎหมาย ทำสัญญา ณ กรมที่ดิน
  • ทรัพย์ไหนธนาคารไม่อนุมัติแต่บริษัทเอกชนหรือบุคล ก็สามารถจำนองได้ (ขึ้นอยู่กับลักษณะทรัพย์นั้นๆ)

ข้อเสียของการจำนองบ้าน กับบริษัทเอกชน หรือ บุคคล

  • ดอกเบี้ยจะสูงกว่าการจำนองบ้านกับธนาคาร
  • ราคาวงเงินในการขอเสื่อเชื่อจะได้อยู่ที่ 20 % – 40% ของราคาประเมินตลาด

 

เป็นยังกันบ้างคะ สำหรับหัวข้อ การจำนองบ้านระหว่าง ธนาคาร กับ บุคคล ต่างกันอย่างไร
หวังว่าจะช่วยเพื่อนๆ ตัดสินใจในการขอสินเชื่อเพื่อการ จำนอง ได้ง่ายขึ้น
หากอยากลองขอสินเชื่อจำนองลองทักมาหาเรา ทีม Property4cash พร้อมให้คำแนะนำ

การ จำนอง บ้านระหว่าง ธนาคาร กับ บุคคล ต่างกันอย่างไร

ไม่เช็คเครดิตบูโร ไม่ต้องมีคนค้ำ ไม่เช็คเอกสารทางการเงิน อนุมัติรวดเร็วทันที

หากสนใจลงทุนจำนอง ขายฝาก Property4cash ยินดีให้คำปรึกษา

สนใจจำนอง-ขายฝาก หรือปรึกษาปัญหา ติดต่อเราได้ทาง

Line: @Property4Cash
โทร : 0968135989

หรือส่งรายละเอียดทรัพย์มาได้ที่ https://property4cash.co/post-property/

นึกถึงขายฝาก.. นึกถึง Property 4 Cash
ดอกเบี้ยต่ำ อนุมัติเร็ว ถูกกฎหมาย 100%

อ่านบทความอื่นๆเพิ่มเติมได้ที่ : https://property4cash.co/articles/

หรือ https://facebook.com/propertyforcashofficial

ลงทะเบียนเป็นนักลงทุน

กรุณากรอก ชื่อ
กรุณากรอก นามสกุล
กรุณากรอก เบอร์โทรศัพท์
กรุณากรอก LINE ID
กรุณากรอก อีเมล
บาท
please verify you are human

บทความเเละข่าวสารแนะนำ

การฝากขาย และ การขายฝาก แตกต่างกันอย่างไร
17
Oct 23
การฝากขาย และ การขายฝาก แตกต่างกันอย่างไร

หลายๆ คนอาจจะยังสับสนหรือสงสัยกับว่า การขายฝาก และ การฝากขาย แตกต่างกันอย่างไร แม้ว่าอ่านแล้วอาจจะดูคล้ายกัน แต่สองคำนี้มีความหมายที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน ก่อนอื่นเรามาดูความหมายของการขายฝาก กับ การฝากขายกันก่อนดีกว่าค่ะ ว่าแต่ละตัวมันมีความหมายยังไง จะได้ไม่เข้าใจกันผิดกันอีกจ้า การขายฝาก คือ สัญญาการซื้อขายรูปแบบหนึ่ง ซึ่งกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินจะตกแก่ผู้รับขายฝาก (นายทุน) ณ วันที่ทำสัญญาที่กรม ที่ดิน ภายใต้ข้อตกลงที่ว่า ผู้ขายฝากสามารถไถ่ถอนทรัพย์สินคืนได้ ภายในระยะเวลาที่ระบุในสัญญา (แต่ไม่เกิน 10 ปี) หากไม่มาไถ่ถอนทรัพย์สิน กรรมสิทธิ์นั้นจะตกเป็นของผู้รับฝาก(นายทุน) ทันที ส่วนการ ฝากขายนั้น ผู้ฝากขายจะนำทรัพย์สินของตนเองไปฝากขายกับตัวแทน หรือนายหน้า เพื่อให้ทางนายหน้า ช่วยทำการตลาด โฆษณา หรือประชาสัมพันธ์ทรัพย์สิน ที่เจ้าของทรัพย์นำไปฝากขาย ซึ่งกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินจะยังเป็นของผู้ฝากขายอยู่ และจะโอนเป็นของผู้อื่นเมื่อนายหน้าได้ทำการขายทรัพย์สินนั้น ให้กับผู้ฝากขายได้แล้ว ตารางเปรียบเทียบระหว่างขายฝากและฝากขาย หัวข้อ ขายฝาก ฝากขาย ธุรกรรม การขายฝากและสามารถไถ่ถอนทรัพย์สินนั้นคืนได้ ห […]

อ่านเพิ่มเติม
วิธีการเอาชื่อเข้า ทะเบียนบ้านของชาวต่างชาติ
5
Sep 23
วิธีการเอาชื่อเข้าทะเบียนบ้านของชาวต่างชาติ

ทะเบียนบ้านนั้นเป็นเอกสารของทางราชการ ที่ระบุรายชื่อของผู้ที่อาศัยอยู่ในบ้าน ทะเบียนบ้านจะบ่งบอกว่าบุคคลใดเป็นเจ้าบ้านและบุคคลใดเป็นผู้อาศัย คนไทยใช้ทะเบียนบ้านเพื่อแสดงที่อยู่อาศัย และใช้แสดงเป็นหลักฐานสำคัญในการติดต่อกับหน่วยงานต่างๆ และถ้าคนต่างชาติอยากจะมีชื่อในทะเบียนบ้านบ้างจะต้องทำอย่างไรและเตรียมเอกสารอะไรบ้าง วันนี้เรามีคำตอบมาให้ทุกคนแล้วค่ะ สิ่งแรกที่ต้องรู้คือ การขอ ทะเบียนบ้านของชาวต่างชาติ จะต้องเป็นทะเบียนบ้านเล่มเหลือง (ทร.13) เท่านั้น และการนำชื่อชาวต่างชาติเข้าทะเบียนบ้าน จะมี 2 กรณีหลัก ๆ 1.กรณีที่คนต่างชาติสมรสกับคนไทย และต้องการนำชื่อเข้าทะเบียนบ้าน หากคุณหรือบิดามารดาของคุณเป็นเจ้าบ้าน ให้เจ้าบ้านไปแจ้งต่อสำนักทะเบียนตามภูมิลำเนาที่บ้านตั้งอยู่ โดยกรอกคำร้องเกี่ยวกับทะเบียนราษฎร(ทร.13) ขอเพิ่มชื่อบุคคลในทะเบียนบ้าน สำหรับเอกสารที่ต้องเตรียมก็มีดังนี้ค่ะ เอกสารเจ้าของบ้าน – บัตรประชาชนพร้อมสำเนา – ทะเบียนบ้าน ทร. 14 เล่มจริง พร้อมสำเนา เอกสารสำหรับขอ ทะเบียนบ้านของชาวต่างชาติ – หนังสือเดินทาง (ตัวจริงพร้อมสำเนาที่ทำการแปลเป็นภาษาไทย) – หนังส […]

อ่านเพิ่มเติม
มาตรการ LTV
15
May 25
สรุป! มาตราการลดค่าโอน และ มาตราการ LTV

          ในปี 2568 ตลาดอสังหาริมทรัพย์ไทยยังคงเผชิญกับแรงกดดันจากภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว อัตราดอกเบี้ยที่สูงขึ้น และกำลังซื้อที่ลดลง ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) จึงมีการปรับมาตรการสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย หรือที่รู้จักกันในชื่อ มาตรการ LTV  (Loan-to-Value) เพื่อกระตุ้นการซื้อ-ขายในตลาดบ้านและคอนโด             ผู้สนใจลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์ บ้านมือ 1 หรือบ้านมือ 2 ต้องรู้บ้าง? ว่าในปีนี้มีมาตรการที่เป็นประโยชน์ต่อคุณเยอะมาก เพื่อช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจในการซื้อขายที่อยู่อาศัย โดยจะมี 2 มาตรการที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์ต่อทุกคน ได้แก่ “การผ่อนปรนมาตรการ LTV” และ “มาตรการลดค่าธรรมเนียมการโอนบ้านและจดจำนองที่ดิน” ที่คุณมีแต่ได้กับได้ทั้งนั้น   ทำความรู้จักกับ LTV           LTV (Loan-to-Value Ratio) คือ อัตราส่วนระหว่างวงเงินที่ธนาคารอนุมัติให้กู้ กับมูลค่าหลักทรัพย์ที่นำมาจำนอง (เช่น บ้านหรือคอนโด) โดยทั่วไป LTV ใช้ในการควบคุมความเสี่ยงของสถาบันการเงิน และเป็นเครื่องมือหนึ่งในการควบคุมความร้อนแรงของตลาดอสังหาริมทรัพย์ 🔍 ตัวอย่าง: ถ้าคุณต้องการซื้อคอนโดราคา 3 ล้านบาท แล้วธนาคารให้กู้ 2.7 […]

อ่านเพิ่มเติม